วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2555

เรื่องที่ 9 ซอฟต์แวร์และซอฟต์แวร์ระบบ

                                                
ซอฟต์แวร์และซอฟต์ระบบ


      


1. ใบความรู้ 1.1 ซอฟต์ แวร์ ระบบ และซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ซอฟต์ แวร์ (Software) หมายถึง ส่ วนทีมนุ ษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็ นโปรแกรมหรื อชุ ดคําสังทีถูกเขียนขึนเพือสังให้เครื องคอมพิวเตอร์ ทางาน ซอฟต์แวร์ จึงเป็ นเหมือนตัวเชือมระหว่างผูใช้เครื องคอมพิวเตอร์ ํ ้และเครื องคอมพิ วเตอร์ ถ้า ไม่ มี ซ อฟต์แวร์ เราก็ ไ ม่ ส ามารถใช้เครื องคอมพิ วเตอร์ ท า อะไรได้เลย ํซอฟต์แวร์ สาหรับเครื องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็ น ํ1. ซอฟต์ แวร์ สําหรับระบบ (System Software) ซอฟต์ แ วร์ ร ะบบ หมายถึ ง โปรแกรมหรื อคํา สั งที ทํา หน้ า ควบคุ ม การปฏิ บ ัติ ง านของส่ วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ ตลอดเวลาควบคุม การสื อสารข้อมูลในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ 1.1 ระบบปฏิบัติการ (operating system หรือ OS) เป็ นชุ ดคํา สังที ทํา หน้า ที เป็ นสื อกลางระหว่า งโปรแกรมประยุก ต์และอุ ป กรณ์ ค อมพิ วเตอร์ตัวอย่างระบบปฏิบติการทีใช้ในปั จจุบน เช่น ระบบปฏิบติการดอส (Disk Operating System หรื อ DOS) ั ั ัWindows 98 , UNIX เป็ นต้น ระบบปฏิบติการสามารถแบ่งออกตามลักษณะการทํางานได้ดงนี ั ั 1. ระบบปฏิบัติการทีนิยมใช้ กบเครืองไมโครคอมพิวเตอร์ ได้แก่- ระบบปฏิบติการเอ็มเอสดอส ั ั(Microsoft Disk Operating System หรื อ MS - DOS)เอ็มเอสดอส เป็ นระบบการปฏิบติการทีทําหน้าที ัดูแลการทํางานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ 2. ระบบปฏิบัติการเครื อข่ าย (network operating system หรื อ NOS) เป็ นระบบปฏิบติการที ัออกแบบเพื อจัดการงานด้า นการสื อสารของคอมพิ วเตอร์ ใ ห้ส ามารถใช้ท รั พ ยากรร่ วมกันได้ เช่ นเครื องพิมพ์ ฮาร์ ดดิสก์ เป็ นต้น 3. ระบบปฏิบัติการแบบเปิ ด (open operating system) เป็ นระบบทีพัฒนาจากแนวคิดทีต้องการใช้ระบบปฏิบติการกับเครื องคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ได้ซึงแต่เดิมการใช้ระบบปฏิบติการไม่วาจะเป็ นเครื อง ั ั ่คอมพิวเตอร์ ของบริ ษทนัน ๆ ัวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 2. 1.2. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (translator) การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผูเ้ ขียนโปรแกรมหรื อทีเรี ยกว่าโปรแกรมเมอร์ นน จะเลือกใช้ ัภาษาให้เหมาะสมกับ ลักษณะงานและความถนัด ของผูเ้ ขี ยนโปรแกรม โปรแกรมที เขี ยนขึ นหรื อทีเรี ยกว่าโปรแกรมต้นฉบับ จึ งมี ลกษณะโครงสร้ างของภาษาที แตกต่างกันออกไป ในการทํางานของ ัคอมพิ วเตอร์ นัน คอมพิ วเตอร์ จ ะไม่ ส ามารถเข้า ใจภาษาที ใก้ล เคี ย งกับ ภาษามนุ ษ ย์ที เรี ย กว่า ภาษาระดับสู ง เนื องจากคอมพิวเตอร์ จะรั บข้อมูลทีเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าซึ งแทนด้วยเลขฐานสอง (0 หรื อ 1)หรื อทีเรี ยกว่า ภาษาเครื อง คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็ นตัว แปลภาษาระดับ สู ง เช่ น ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอลและภาษาฟอร์ แ ทรกให้ เ ป็ นภาษาเครื อง การทํางานจะใช้หลักการแปลโปรแกรมต้นฉบับ ทังโปรแกรมเรี ยกใช้งาน ซึ งจะถูกบันทึกไว้ในลักษณะของแฟ้ มข้อมูลหรื อไฟล์ เมือต้องการเรี ยกใช้งานโปรแกรมก็สามารถเรี ยกจากไฟล์เรี ยกใช้งาน โดยไม่ตองทําการแปลหรื อคอมไพล์อีก ทําให้การทํางานเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ้ อินเตอร์ พรีเตอร์ (interpreter)เป็ นตัวแปลระดับสู งเช่นเดี ยวกับคอมไพเลอร์ แต่จะแปลพร้ อมกับทํางานตามคําสังทีละคําสังตลอดไปทังโปรแกรม ทําให้การแก้ไขโปรแกรมกระทําได้ง่าย และรวดเร็ ว แอสเซมบลีลี (assembler) เป็ นตัวแปลภาษาแอสเซมบลี (assembly) ซึ งเป็ นภาษาระดับตําให้เป็ นภาษาเครื อง 1.3 โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utility program/software) เรี ยกสันๆ ว่า ยูทิลิตี เป็ นโปรแกรมประเภทหนึ งทีทํางานบนระบบปฏิบติการ ส่ วนมากใช้เพือบํารุ งรักษาและเพิมประสิ ทธิ ภาพการทํางาน ัของคอมพิวเตอร์ คุ ณสมบัติการใช้งานนันค่อนข้างหลากหลาย ยูทิลิตีแบ่งออกเป็ นสองชนิ ดคือ ยูทิลิตีสําหรับระบบปฏิบติการ (OS utility program) และ ยูทิลิตีอืนๆ (stand-alone utility program) ั ยูทลตีสํ าหรับระบบปฏิบัติการ ิิ • ประเภทการจัดการไฟล์ (File manager) • ประเภทการถอนโปรแกรม (Uninstaller) • ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner)วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 3. • ประเภทการจัดพืนทีเก็บข้อมูล (Disk Defragmenter) • ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen Saver ยูทลตีอืนๆ ิิ • โปรแกรมป้ องกันไวรัส (Anti Virus Program) • โปรแกรมไฟร์ วอลล์ (Firewall) • โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility)2. ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software) ํ ้ ้ ่ คือ ซอฟต์แวร์ หรื อโปรแกรมทีนําให้คอมพิวเตอร์ ทางานต่างๆ ตามทีผูใช้ตองการ ไม่วาจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ ประยุกต์สามารถจําแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์ แวร์ สําหรับงานเฉพาะด้ าน คือ โปรแกรมซึ งเขียนขึนเพือการทํางานเฉพาะอย่างทีเราต้องการ บางทีเรี ยกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทําบัญชี จ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื อโปรแกรมการทําสิ นค้าคงคลัง เป็ นต้น ซึ งแต่ละโปรแกรมก็มกจะมีเงือนไข หรื อแบบฟอร์ มแตกต่างกัน ัออกไปตามความต้องการ หรื อกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่ วยงานทีใช้ ซึ งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิมเติม(Modifications) ในบางส่ วนของโปรแกรมได้ เพือให้ตรงกับความต้องการของผูใช้ และซอฟต์แวร์ ้ประยุกต์ทีเขียนขึนนีโดยส่ วนใหญ่มกใช้ภาษาระดับสู งเป็ นตัวพัฒนา ั 2.2 ซอฟต์ แวร์ สําหรั บงานทัวไป เป็ นโปรแกรมประยุกต์ทีมีผูจดทําไว้ เพือใช้ในการทํางาน ้ั ัประเภทต่างๆ ทัวไป โดยผูใช้คนอืนๆ สามารถนําโปรแกรมนีไปประยุกต์ใช้กบข้อมูลของตนได้ แต่จะ ้ไม่สามารถทําการดัดแปลง หรื อแก้ไขโปรแกรมได้ ผูใช้ไม่จาเป็ นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ งเป็ นการ ้ ํประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี ยังไม่ตองเวลามากในการฝึ กและ ้ปฏิบติ ซึ งโปรแกรมสําเร็ จรู ปนี มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรทีมีความชํานาญเป็ น ัพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนัน การใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ปจึงเป็ นสิ งทีอํานวยความสะดวกและเป็ นประโยชน์อย่างยิง ตัวอย่างโปรแกรมสําเร็ จรู ปทีนิ ยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop,SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็ นต้นข้อมูลอ้างอิง:http://wanchai.hi.ac.th/3204-2012/ComStruc/software1.htmlวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น